
การสันดาป
(Combustion Technology) การสันดาปเป็นปฏิกิริยา
การรวมตัวกันของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนอย่างรวดเร็วพร้อมเกิดการลุกไหม้และ
คายความร้อน ในการเผาไหม้ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ออกซิเจนล้วนๆ
แต่จะใช้อากาศแทนเนื่องจากอากาศมีออกซิเจนอยู่ 21% โดยปริมาณ หรือ 23%
โดยน้ำหนัก
การผลิต เชื้อเพลิงเหลว (Liquidification Technology)
การผลิต ก๊าซเชื้อเพลิง (Gasification Technology)
กระบวนการ Gasification
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพลังงานที่มีอยู่ในชีวมวลที่สำคัญกระบวนการหนึ่ง
ของการเปลี่ยนแปลงแบบ Thermal Conversion โดยมีส่วนประกอบของ Producer gas
ที่สำคัญได้แก่ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ไฮโดรเจน (H2) และมีเทน (CH4)
การผลิตก๊าซโดยการ หมัก (Anaerobic Digestion Technology) การ
ผลิตก๊าซจากชีวมวลทางเคมี
ด้วยการย่อยสลายสารอินทรีย์ในที่ไม่มีอากาศหรือไม่มีออกซิเจนซึ่งเรียกว่า
ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ได้ก๊าซมีเทน (CH4) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
เป็นหลัก
การผลิตไฟฟ้าโดย ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
เตาแก๊สชีวมวลเป็นเตาที่จัดสร้างขึ้น
เพื่อใช้สำหรับการหุงต้มอาหารในครัว เรือน
โดยใช้เศษไม้และเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นเชื้อเพลิง
โดยมีหลักการทำงานแบบการผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวล (Gasifier)
แบบอากาศไหลขึ้น (Updraf Gasifier)
เป็นการเผาไหม้เชื้อเพลิงในที่ที่จำกัดปริมาณอากาศให้เกิดความร้อนบางส่วน
แล้วไปเร่งปฏิกริยาต่อเนื่องอื่นๆ
เพื่อเปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งให้กลายเป็นแก๊สเชื้อเพลิง ที่สามารถติดไฟได้
ได้แก่ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แก๊สไฮโดรเจน (H2) และแก๊สมีเธน (CH2)
เป็นต้น
ศักยภาพ • ศักยภาพ ชีวมวลในประเทศไทย
• ปริมาณ ผลผลิตอ้อย
• ปริมาณ ชีวมวลยอด และใบอ้อย
• ปริมาณ ผลผลิตฟางข้าว
• ปริมาณ ชีวมวลฟางข้าว
• ปริมาณ ผลผลิตข้าวโพด
• ปริมาณ ชีวมวลข้าวโพด
• ปริมาณ ผลผลิตมันสำปะหลัง
• ปริมาณ ชีวมวลเหง้า และลำต้นมัน
การใช้งาน • การใช้ชี วมวลในประเทศไทยระหว่างปี 2546 – 2551
โรงไฟฟ้าชุมชน
รักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยชีวมวล ข้อมูลจาก http://www.dede.go.th
|